Home แนวคิดชีวิต (เรื่องนี้เขียนได้ดีมากๆ) ขยันทำงานหาเงินมาได้มากแค่ไหน ก็ไม่พอเก็บไม่พอใช้

(เรื่องนี้เขียนได้ดีมากๆ) ขยันทำงานหาเงินมาได้มากแค่ไหน ก็ไม่พอเก็บไม่พอใช้

6 second read
0
793
(เรื่องนี้เขียนได้ดีมากๆ) ขยันทำงานหาเงินมาได้มากแค่ไหน ก็ไม่พอเก็บไม่พอใช้

(เรื่องนี้เขียนได้ดีมากๆ) ขยันทำงานหาเงินมาได้มากแค่ไหน ก็ไม่พอเก็บไม่พอใช้

มันก็เป็นคำพูดที่ติ ดปาก ตั้งแต่ทำงานจนเกษียณ ว่าหาเงินมาได้เท่าไหร่ก็จ่ายออกหมด หาเงินมาไม่ทันได้ใช้ หามาได้ ก็ไม่เคยมีเงินเก็บกับเขาเลย คนทำงานทุกคน ก็ต้องการเงินเดือนสูงๆ กันทั้งนั้น เพราะ อ ย่ า ง น้อยๆ

ก็ขอให้ได้เงินเดือนที่พอใช้จ่ายได้ทั้งเดือน และก็เหลือเก็บบ้าง แต่ว่า สภาพสังคมทุกวันนี้ชีวิตของคนทำงาน มันมีสิ่งที่ทำให้ต้องเสียเงินอยู่เสมอ ซึ่งแม้จะเป็นรายจ่ายที่สำคัญแต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าจะลดรายจ่ายไม่ได้

อ ย่ า ง เช่น ค่าผ่ อ นชำร ะบัตร ขั้นต่ำในแต่ละเดือน ค่าบริก ารโทรศั พท์ ค่าเน็ต ค่าเครื่องสำอาง ค่าฟิ ตเนส ค่าน้ำมัน ซึ่งรายจ่ายเหล่านี้ เป็นการจ่าย เพื่อสิ่งที่อาจไม่จำเป็นต้องมีก็ได้’ แต่ก็ยังดี กว่ารายจ่ายในสิ่งที่ไม่มีประโยชน์

อ ย่ า ง ค่ า เ ห ล้ า บุ ห รี่ หรือค่าใช้จ่าย เพื่ออ บ า ย มุ ขทั้งหลาย สำหรับสิ่งเหล่านี้ เงินเดือนเท่าไหร่กัน จึงจะพอกับความต้องการ ฉะนั้น มันจึงเป็นปัญหาโลกแต ก สำหรับคนทำงาน ว่าทำไมมีร ายได้มากกว่าตอนเริ่มทำงาน

แต่กลับไม่พอใช้อยู่ดี ลองมองย้อนกลับไปในอดีต เพราะถ้าเราไม่ก่อหนี้ อ ย่ า ง บัต รเ คร ดิ ตนั้น เพื่อซื้อสิ่งที่ต้องการ ป่านนี้คงมีเงินเก็บ ถ้าคนทำงานเช่นคุณ จ่ายค่ าเ ห ล้ าค่า บุ ห รี่ในแต่ละวันเท่ าค่าใช้จ่ายในแต่ละวัน

เปลี่ยนมาเป็นจ่ายค่าข้าวในแต่ละเดือน จะเหลือเงินค่าข้าว เป็นสองเท่าเลยนะ มีรายได้หลักพัน หรือหลักหมื่นต้นๆ กลับซื้อเสื้อผ้าเครื่องประดับแพงๆ ใส่ไปทำงาน ใช้มือถือเครื่องละหลายหมื่น ที่ยังต้องผ่อน กาแฟแก้วละเกือบร้อย

แม้ว่ามันจะเป็นความสุขของคนทำงานก็ตาม แต่ความ ทุ ก ข์ ที่ต้องตามมานั้น ส่งผลให้คนทำงานส่วนใหญ่ มีหนี้สิน แม้แต่คนที่ทำงานได้เงินเดือนสูงบริหารร ายได้ตัวเองไม่เป็น ก็ไม่เหลือเงินเก็บเหมือนกันนะ เพราะส่วนมากได้เงินเยอะ

ใช้เยอะตามไปด้วยไง นี่แหละ เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้อง กับความต้องการของคน อ ย่ า ง เช่น ตอนเป็น เ ด็ ก คุณอาจจะคิดว่ามีเงินแค่ 1 ล้าน ก็ถือว่ารวย แต่พอโตขึ้นมาเงิน 1 ล้านอาจจะเป็นเงินจำนวน ที่น้อยมากในสายตาคุณ เพราะกิเ ล สไม่มี

ที่สิ้นสุด เพราะยิ่งคน เติบโตมากขึ้นกิเล สก็เพิ่มตามมาด้วย ฉะนั้นแม้จะมีเท่าไร ก็ไม่พอใช้หรอก เพราะความต้องการที่เพิ่มขึ้นไง ฉะนั้นพิจารณาดูว่า ในช่วงเริ่มต้นชีวิตการทำงานนั้น คุณอาจมีร ายได้ เพียงหลักพัน หรือหลักหมื่นต้นๆ

แต่เพียงพอต่อหนึ่งเดือน พอคุณมีความต้องการมากขึ้น ร ายได้ก็เกิดการไม่พอ หลังจากนั้นคุณก็จะเริ่มคิดว่า หากมีเงินเดือนสามหมื่นก็คงพอ อยู่ได้สบาย แต่พอเงินเดือน คุณถึงสามหมื่นละก็ มันกลับเข้าสู่พฤติกร ร มเดิมๆ

สามหมื่นที่คิดว่า พอก็ไม่พออยู่ดี จากที่คิดว่าใช้เท่าไหร่ก็ยังไม่พอ เปลี่ยนมาเป็น เก็บออมให้ได้เยอะที่สุด จนเรารู้สึกว่า ออมเท่าไหร่ก็ไม่พอดีกว่า หรือ สร้างหนี้ได้ แต่ต้องเป็น หนี้เพื่ออนาคต ออมเงินกับป ร ะกั นชีวิต และฝากเงิน

กับธนาค ารเอาไว้ แก่ไปจะได้สบายไม่ลำบาก หากเกิดเหตุการณ์ฉุ ก เฉิ นขึ้น ประเมินรายจ่ายจากเงินเดือน หรือรายรับอื่นๆ ก่อนเสมอ เพื่อจัดสรรเงินเดือน เป็นส่วนๆ และคิดว่าควรจ่ายอะไรบ้าง จ่ายไปเท่าไหน มันจึงจะได้รู้ว่า

ที่จ่ายไปแต่ละเดือน จนไม่เหลือนั้น ส่วนใดที่ไม่มีความจำเป็น จากนั้นก็ค่อยๆ ตัดออกไป เรียกง่ายๆ ว่า ใช้จ่าย อ ย่ า ง ประหยัด ถ้าเก็บออม 1 ปีได้สัก 8 หมื่น เก็บได้ 3 ปี เป็นสองแสนสี่หมื่น และเรายังอาจจะไปฝากธนาคาร ลงทุ น เหล่านี้

มันจะทำให้เรามีเงินเก็บเพิ่มได้ แม้ในอนาคต อะไรต่ออะไรจะขึ้นราคา คุณก็ไม่เดื อ ดร้อนมากนัก หากเทียบกับคนที่ทำงานมา 3 ปีเท่าๆกัน แต่ไม่มีเงินเก็บ ที่สำคัญคุณจะมีเงินสำรองไว้ใช้ได้ย ามฉุ ก เ ฉิ น ไม่ต้องไปวิ่งหาเมื่อเกิ ดเรื่องไม่คาดคิด

ขอขอบคุณที่มา san-sabai

Check Also

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า 1 งานนี้ไม่ใช่งานในความรับผิดชอบ แม้ไม่ใช่งาน ในค…