Home แนวคิดชีวิต 7 วิธีฝึกใช้ชีวิตให้เป็น ให้มีเงินเก็บ อยู่ดีมีสุข

7 วิธีฝึกใช้ชีวิตให้เป็น ให้มีเงินเก็บ อยู่ดีมีสุข

6 second read
0
731

7 วิธีฝึกใช้ชีวิตให้เป็น ให้มีเงินเก็บ อยู่ดีมีสุข

1 อะไรประหยัดได้ก็ควรประหยัด

ในภาวะเศรษฐกิจเช่นนี้ หากเราไม่ปรับตัว ยังใช้ชีวิตหรูหรา

เกินฐานะ ความจนจะมาเยือน และไม่ยอมไปไหน อ ย่ า งเเน่นอน

ให้คุณท่องคำว่า อะไรประหยัดได้ ก็ต้องประหยัดเอาไว้

เพราะจะเป็นส่วนหนึ่ง ที่ช่วยให้คุณมีเงินงอกเงย จากการประหยัดนั้น

ถึงแม้จะเป็นเ งินไม่มาก แต่เป็นการเพาะนิสัย ให้ข ย า ย ไปทุกพื้นที่

ของชีวิต และต้องยอมรับว่า เศรษฐีหลายคน ก็ยังยกย่องว่าความประหยัด

เป็นคุณสมบัติหนึ่ง ที่นำพาชีวิตพวกเขาให้ ประสบความสำเร็จ

2 มีความขยันขันเเข็ง

ปัจจุบันงานก็หา ย า ก มีข่าวการปลดพ นักงานออกมาเนืองๆ

ทำให้หลายคนไม่มั่นใจ ว่าจะเป็นตน ในวันใดวันหนึ่ง

หรือไม่หากคุณ ทำงานประจำแน่นอนว่า ต้องโชว์ความขยันขันแข็ง

ให้เจ้านายเห็น เพื่อเป็นจุดแข็งให้คุณ ใน ย า ม ที่ต้องประเมิน

ผลงานความขยันขันแข็ง ตรงข้ามกับความ ข ี้เกียจ

คงจะไม่มีหน่วยงานไหนที่อ ย า กได้คน ข ี้เกียจ เรียกใช้ย า ก

ผลงานน้อย เข้าทำงานแน่ซึ่งหาก คุณโดนให้ออกจากงาน

นั่นแหละคุณจึงจะ รู้ว่างานคือเงิ น และไม่มีงานก็ไม่มีเ งินนั้นเอง

3 สร้างนิสัยรักการออม

เมื่อคุณมีวินัย ในการออมเ งิน ผลที่ได้ย่อม นำความชื่นใจมาให้

เพราะคุณจะเห็น ยอดเงิ นออมเพิ่มขึ้น ทุกเดือนและนับว่า

เป็นนิสัยของเศรษฐี ที่มักจะคิดเรื่องเงิน ออมก่อนเสมอ

อ ย่ า ง น้อยก็อุ่นใจที่มี เงิ นก้อนหนึ่ง ที่โตขึ้น เรื่อยๆ ต่างจากคน

ที่ไม่คิด จะออมเงิ นจากรายได้ของ ตนเลยมีเท่าไรใช้หมด

แถมใช้เงิ นเกิน จากที่ได้รับด้วย อ ย่ า ง ไรก็พบกับความจนเรื้อรัง

แน่นอนคุณสามารถเริ่มต้น คิดถึงเงิ นออมได้ ตั้งแต่บัดนี้

และลงมือทำ จากจำนวนเงิ นน้อยๆก่อน แล้วค่อยๆเพิ่มจนถึงจุดที่คุณพอใจ

ในแต่ละเดือน เพียงทำเท่านี้ชีวิตของคุณ จะดีขึ้น อ ย่ า งเเน่นอน

4 ยึดหลักความพอดี

ไม่ว่าจะกิน จะใช้ หากไม่อย ากจน เงิ น ติ ด ลบ ก็ต้องนำหลัก

ความพอดีมาใช้ คุณควรบริหารเงิ น เป็นสัดส่วน กินและใช้ อ ย่  า งเหมาะสม

ไม่มากและไม่น้อย จนเกินไปพอดีพอดี บางคนชอบกินของแพง

ถ้านานๆทีคงไม่เป็นไรแต่ หากเน้นกินของแพงทุกวัน เพราะชอบ

อ ย่ า ง นี้อร่อยลิ้น แต่ต้องมานั่งเครียด กับเงิ นไม่พอใช้อ ย่ า  งเเน่นอน

ทุกสิ่งอ ย่ า งที่เกี่ยวกับ เงิ น คุณจะต้องคิดให้มากๆ ไม่ใช่อะไรก็ได้

เพราะเงิ น เวลาใช้นั้นเร็ว แต่เวลาหานั้น ย า ก และนาน

จะทำอะไรที่ เกี่ยวกับเงิ น ก็ต้อง ฉุกคิดไว้ก่อน

5 มองหาการลงทุน

ข้อนี้สำคัญมากเลย ที่จะทำให้คุณเลื่อนฐานะ การเงิ นขึ้นมา

ได้คนรวยมักชอบ มองหาการลงทุน คุณก็ต้องมองหา

การลงทุนด้วยเช่นกัน ซึ่งการลงทุน มีมากมายหลายประเภท

ที่จะทำให้เงิ นของ คุณงอกเงยขึ้น แต่ก่อนอื่นคุณจะต้อง

หาความรู้ เรื่องการลงทุน ในกิจการนั้นๆก่อน เพื่อลดความเ สี่ ย ง

เรียกว่าลงทุน อ ย่ า งชาญฉลาดซึ่งหลายคน ก็ประสบความสำเร็จ

จากการลงทุน ทำให้ การเ งินฟื้นตัวและพลิกกลับ มาเป็นคนรวยได้

6 บันทึกบัญชีการเ งิ น

เรื่องการบันทึกบัญชี มีผลต่อชีวิตจริงๆ การบันทึกบัญชีการเงิ น

เป็นการแกะรอย การเงินทุกฝีก้าว ว่าเงิ นไปไหนได้มาเท่าไร

ทำให้คุณวางแผน การเงินจากสมุดบันทึก ซึ่งดีกว่าแค่จำๆ ในส ม อ ง

หลักการบันทึกบัญชี คือให้คุณบันทึกเงิน เข้าออกทุกเม็ด

เงิ นไม่ให้ตกหล่น ตามความเป็นจริง แล้วขีดเส้นสรุปรายวัน

และทำรายเดือน อีกครั้งเพียงเท่านี้ คุณจะเห็นร่องรอย การเ งินของคุณ

และมีสติมากขึ้น การบันทึกบัญชีรับ จ่าย จะเป็นตัวช่วยที่ดี

ที่จะทำให้คุณ วางแผนการเ งิ นได้ดีขึ้นอีกด้วย

7 หมั่นหาความรู้เสมอ

คุณต้องทำตัว ให้กลายเป็นผู้หิวกระหาย ในความรู้เพื่อนำมา

ต่อยอดไอเดีย ในการพัฒนาชีวิต และรายได้ของตน

ซึ่งความรู้มีหลาย ประเภทอาทิความรู้ ในอาชีพต่างๆ

ความรู้ในเรื่องการ ลงทุนความรู้ในเรื่อง การเ งินเป็นต้น

และปัจจุบันความรู้ต่างๆ เหล่านี้ก็แฝงตัวอยู่ทุกที่ ให้เราเก็บไป

บางแห่งไม่ ต้องเสียเงิ นแต่ อ ย่ า ง ใด เช่น ในอินเตอร์เน็ต

ตามเว็บไซต์ต่างๆ มีความรู้มากมาย รอให้เราไปค้นไปคว้า

และไปเก็บมาแบบให้เปล่า อยู่ที่ว่าเราจะเห็นคุณค่า ของความรู้นั้น

แล้วนำมาต่อยอดพัฒนาชีวิต ของตนให้พ้นจาก ความจนหรือไม่ต้องยอมรับว่า

การใช้ชีวิตของแต่ละคน นำมาซึ่งความร่ำรวย หรือความ ย า กจน

ที่แตกต่างกัน ทำสิ่งใดก็ได้ สิ่งนั้นยังเป็นคำ กล่าวที่เตือนใจ

ได้เป็น อ ย่ า ง ดี หากเราสร้างเหตุดีผล ก็ย่อมดีตามมา

เปลี่ยนการใช้ชีวิต ที่นำความรุ่งเรือง ให้ชีวิตดีกว่าจะได้ไม่ถูก

ประทับตราว่า เป็นคนจนแบบ ถาวรอีกต่อไป

ขอขอบคุณที่มา จาก moneyhub, yakrookaset

Check Also

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า 1 งานนี้ไม่ใช่งานในความรับผิดชอบ แม้ไม่ใช่งาน ในค…