Home แนวคิดชีวิต 7 แนวคิด ในการสอนลูกๆ ให้โตมาเป็นคนที่ดี

7 แนวคิด ในการสอนลูกๆ ให้โตมาเป็นคนที่ดี

6 second read
0
1,250
6 แนวคิด ในการสอนลูกๆ ให้โตมาเป็นคนที่ดี

7 แนวคิด ในการสอนลูกๆ ให้โตมาเป็นคนที่ดี

1 เรื่องที่แม่ต้องสอนลูก

เรื่องที่แม่ต้องสอนลูก ไม่ใช่แค่เรียนให้เก่ง แต่ต้องเป็นผู้ใหญ่ที่ดี มีความสุข

โตไปไม่ลำบาก วิธีการสอนลูกที่ต้อง เริ่มตั้งแต่ยังเล็กไม่ต้องเก่ง ขอแค่

เป็นคนดีนะลูก เรื่องที่แม่ต้อง สอนลูกตั้งแต่ยังเล็ก แนะนำพ่อแม่ผู้ปกครอง

ถึงเรื่องที่แม่ต้องสอนลูกว่า การสร้างสังคมที่ดีสามารถ เริ่มต้นได้ที่ตัวเรา

และต้องช่วยกันปลูกฝัง ความดีสู่หัวใจลูกตั้งแต่ยังเล็ก สำหรับเทคนิคการเลี้ยงลูก

ให้จิตใจดีต้องเริ่มดังนี้ วิธีการสอนลูก ให้เป็นผู้ใหญ่ที่ดี มีความสุขโตไปไม่ลำบาก

ฝึกให้ลูกช่วยเหลือตนเอง ฝึกให้ลูกช่วยเหลือตนเองเพื่อเป็น พื้นฐานทักษะอื่นต่อไป

เพราะการที่ เ ด็  กสามารถ ช่วยเหลือตนเองได้ และลดการพึ่งพาคนอื่น

จะทำให้ เ ด็ ก เกิดความมั่นใจ ในตัวเอง ลดความกังวล และพร้อมที่จะเรียนรู้ ทักษะอื่นๆในชีวิตประจำวัน

2 ฝึกลูกช่วยงานบ้าน

ฝึกลูกช่วยงานบ้าน เริ่มได้ตั้งแต่เล็ก โดยส่วนใหญ่เ ด็ กวัย 2 ขวบ เริ่มฟังและเข้าใจ

คำสั่งง่ายๆ ดังนั้นเราควรฝึกลูก ให้ช่วยงานบ้านขั้นพื้นฐาน เช่นเก็บของเล่น

หลังเล่นเสร็จ แล้วนำเสื้อผ้าที่สวม แล้วไปใส่ตะกร้าเป็นต้น การให้ลูกช่วยงานบ้าน

โดยเริ่มจากสิ่งที่เขา ควรต้องรับผิดชอบเอง ทำให้เ ด็ กได้เรียนรู้ เรื่องหน้าที่

ของตนเอง ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญ ต่อการใช้ชีวิตในสังคม เมื่อลูกเริ่มโตขึ้น

ค่อยเพิ่มหน้าที่ภายในบ้าน ให้เหมาะสมกับวัย ลูกก็จะเรียนรู้ว่าสิ่งต่างๆ

ที่ตนทำมีผลกระทบ ต่อคนรอบข้างอย่ างไร นับเป็นจุดเริ่มต้นของการเอาใจเขาใส่ใจเรา

3 ฝึกระเบียบวินัย

ฝึกระเบียบวินัย เพื่อเป็นทักษะ การควบคุมตนเอง และยับยั้งชั่งใจให้แก่ลูก

นับเป็นพื้นฐานต่อการทน ต่อสิ่ง ยั่ ว ยุต่างๆในชีวิตประจำวัน

ซึ่งสามารถ ทำได้ตั้งแต่เล็กๆ อาทิการตื่นนอน และเข้านอนให้เป็นเวลา

รับประทาน อาหารเป็นเวลา การเก็บของเล่น ให้เป็นที่เป็นทาง

หลังเล่นเสร็จแล้ว ไม่รับประทานขนม หรืออาหารในห้องนอนเป็นต้น

4 สอนเรื่องอารมณ์ต่างๆ

อาทิเมื่อลูกร้องไห้ ที่ไม่ได้ของเล่น อาจบอกลูกว่า แม่รู้ว่าลูกกำลังเสียใจ ที่ไม่ได้ของเล่น

หรือเมื่อลูกโกรธ ที่ถูกแย่งขนม ต้องบอกว่า ลูกกำลังโกรธใช่ไหม แต่แม่อย ากให้

ลูกหายใจลึกๆ ใจเย็นๆ การสอนเช่นนี้ จะช่วยทำให้ลูกเรียนรู้ ที่จะจัดการ กับอารมณ์ของตน

เมื่อโตขึ้น และไม่นำอารมณ์ ของตนเอง มาเป็นข้ออ้าง ในการทำร้ าย คนอื่น

5 สร้างแรงบันดาลใจด้วยเรื่องเล่า

สร้างแรงบันดาลใจ ด้วยเรื่องเล่าสำหรับเ ด็ กเล็ก โลกของเขา ยังไม่กว้างใหญ่มากนัก

การเล่าเรื่องราวต่างๆ จากนิทาน หรือเกร็ดประวัติศาสตร์ อย่ างง่ายๆ เกี่ยวกับบุคคล

ที่ทำเพื่อผู้อื่น จะช่วยทำให้ลูกเข้าใจ เรื่องการช่วยเหลือกัน ในสังคมได้ดีขึ้น

คนเป็นพ่อแม่อาจถามลูกว่า หากเกิดเหตุการณ์ อ ย่ า ง ในนิทา นขึ้นกับลูก

ลูกจะทำ อ ย่  าง ไร ลองฟังคำตอบของลูก แล้วชื่นชม หรือตั้งคำถามเพื่อชี้แนะ

แนวทางที่ถูกหลีกเลี่ยง ที่จะวิจารณ์ และตัดสินว่า คำตอบของลูก

ถูกหรือผิด เพื่อให้ลูกได้ฝึกคิด ด้วยตนเอง โดยมีพ่อแม่เป็นผู้ชี้นำ แนวทางที่เหมาะสม

6 การพาลูกพบคนหลากหลาย

การพาลูกพบ คนหลากหลาย นับเป็นการฝึกให้ลูก มีความเห็นอก เห็นใจผู้อื่น

และเข้าใจสังคมมากขึ้น คือทำให้เขาเห็นว่า ในโลกนี้มีคนที่แตกต่าง หลากหลาย

ทั้งสีผิวเ ชื้ อชาติภาษา และความคิด ซึ่งสิ่งที่แตกต่างเหล่านี้ ไม่ได้แปลว่าผิดเสมอไป

การพาลูกออก เดินทางท่องเที่ยว ได้เห็นวิถีชีวิตผู้ คนที่แตกต่าง

พร้อมกับคำชี้แนะที่เหมาะสม จะทำให้ลูกเข้าใจความเป็นไป ของโลกใบนี้ได้ดีขึ้น

7 สอนลูกให้รู้จักแก้ปัญหา

สอนลูกให้รู้จักแก้ปัญหา บ่อยครั้งที่ลูกทำผิดพลาด พ่อแม่หลายคน จะใช้วิธีตำหนิ

หรือดุลูก เพื่อไม่ให้ลูกทำผิดอีก ซึ่งจะทำให้ เ ด็ ก คิดว่า การทำผิดเป็นเรื่องใหญ่

และกลัวที่จะทำผิด หรือจะปกปิด ความคิดของตนเอง โดยการโกหก

ดังนั้นพ่อแม่ควรเริ่มต้น ในการให้ อ ภั ย ลูก แล้วชวนลูกแก้ไข้ปัญหา

หลังจากที่เกิด ข้อผิดพลาด อาทิเ ด็ กวิ่งแล้ว ทำน้ำหก พ่อแม่ควรฝึกให้ เ ด็ ก

รับผิดชอบ ในสิ่งที่ทำคือเช็ดน้ำ และเก็บแก้วให้เป็นที่ หลังจากนั้นชวนให้ลูกคิดว่า

ครั้งหน้าสามารถ ระวังอย่ างไรให้ไม่เกิดเหตุการณ์แบบนี้อีก นอกจากเรื่อง

ที่แม่ต้องสอนลูกแล้ว พ่อแม่ผู้ปกครองคนในครอบครัว ก็ต้องเป็นต้นแบบ

หรือแบบอย่ างที่ดี ให้แก่ เ ด็ ก เพราะการเห็นแบบอย่ างที่ดี จะทำให้ เ ด็ ก

สามารถจดจำการทำดีได้ มากกว่าการใช้เพียงคำพูด หากพ่อแม่หมั่นสอน

สิ่งสำคัญที่จำเป็น ต้องสอนลูก ลูกก็จะเติบโต เป็นผู้ใหญ่ที่ดี อ ย่ า ง แน่นอน

ขอขอบคุณที่มา theasianparent, stand-smiling

Check Also

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า 1 งานนี้ไม่ใช่งานในความรับผิดชอบ แม้ไม่ใช่งาน ในค…