Home แนวคิดชีวิต 7 ข้อ การรับมือเมื่อเจอเพื่อนร่วมงานที่ทำตัวแย่ๆ

7 ข้อ การรับมือเมื่อเจอเพื่อนร่วมงานที่ทำตัวแย่ๆ

6 second read
0
983
7 ข้อ การรับมือเมื่อเจอเพื่อนร่วมงานที่ทำตัวแย่ๆ

7 ข้อ การรับมือเมื่อเจอเพื่อนร่วมงานที่ทำตัวแย่ๆ

1 ปรับมุมมองให้เป็นบวก

ปรับมุมมองเสียใหม่ ให้เป็นด้านบวก เพื่อช่วยสร้างพลังใ นการทำงานให้กับตัวเอง

เช่นแทนที่จะคิดลา ออกเพราะเบื่อเพื่อนนิสัยไม่ดี อาจลองคิดกลับกันว่า

ถ้าออกจากงานไปแล้ว จะหาเงินไปเรียนต่อ หรือเลี้ยงครอบครัวได้จากที่ไหน

เมื่อปรับความคิด หรือมุมมองได้แบบนี้ ก็จะทำให้มีกำลังใจ ในการทำงานมากขึ้น

คิดซะว่าทำงาน กับคนบ้า ตลก เฮฮา ขำๆ ไป อ ย่ า ถือสา

2 อยู่ห่างจากคนเหล่านี้

หากเป็นไปได้ พ ย า ย า ม ทำให้ตัวเองอยู่ห่าง จากคนเหล่านี้ เช่น

พ ย า ย า ม อ ย่ า ไปนั่งใกล้ๆ หรือเผชิญหน้าเวลา ต้องเข้าประชุมร่วมกัน

หรือถ้าจะเดินเข้าไป ชงกาแฟในห้องครัว ก็ พ ย า ย า ม เลี่ยง ไม่อยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน

3 ใช้อำนาจหน้าที่ ที่มีอยู่

หากหน้าที่การงาน ที่เรารับผิดชอบ อยู่เหนือเพื่อนร่วมงาน ที่มีพฤติ ก ร ร ม แย่ๆ

เราอาจใช้อำนาจ หน้าที่ที่มีอยู่ ทำให้พวกเขาได้รับรู้ว่า หากยังประพฤติตัวแย่ๆ

หรือไม่ใส่ใจ งานของตัวเอง พวกเขามีสิทธิ์ตก ที่นั่งลำบากได้

4 รวบรวมหลักฐาน

การทำให้ฝ่ายบุคคล หรือหัวหน้างานเชื่อว่า เพื่อนร่วมงานคนนั้นมีนิสัย หรือพฤติก ร ร ม แย่ๆ

จนส่งผลกระทบต่อการทำงาน และเพื่อนร่วมงานคนอื่น จำเป็นต้องมีหลักฐานต่างๆ

ที่ชัดเจน เพื่อยืนยันการ กระทำเหล่านั้น เช่น คลิปเสียง หรือภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

5 พูดคุยแบบเปิด อ ก

หากพฤติ ก ร ร ม ของเพื่อนร่วมงาน เป็นอุปสรรคในการทำงาน หรือรบกวนการทำงานของเรา

ควรจะหาโอกาสพูดคุย อ ย่ า ง เปิด อก เพื่อให้อีกฝ่ายได้รับทราบ ถึงปัญหาที่เกิดขึ้น

ซึ่งหากอีกฝ่ายรับฟัง และยอมปรับปรุงแก้ไข ก็จะส่งผลดีต่อทั้งสองฝ่าย

6 ร่วมมือกับเพื่อนคนอื่น

ในกรณีที่หัวหน้างาน รับรู้ปัญหาที่เกิดขึ้นของ พนักงานที่มีนิสัยแย่ๆ แล้ว

แต่ไม่ได้ใส่ใจ และมองว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย ก็อาจต้องหาแนวร่วม

ที่เป็นเพื่อนร่วมงานคนอื่น ที่พบปัญหาเดียวกัน เพื่อร่วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น

7 ปกป้องตัวเอง

หากต้องเป็นฝ่ายถูกกระทำ จากเพื่อนร่วมงา นที่นิสัยไม่ดี เช่น พูดจาดูถูก

หรือ พ ย า ย า ม ลวนลาม สิ่งที่จำเป็นต้องทำคือ การปกป้องตนเอง

อ ย่ า ยอมตกเป็นเหยื่อ หรือผู้ถูกกระทำ เป็นอันขาด

และควรปรึกษา กับคนที่ไว้ใจได้ เพื่อช่วยกันหาทางออก จากปัญหาที่เกิดขึ้น

ขอขอบคุณที่มา aanplearn, postsabaidee

Check Also

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า 1 งานนี้ไม่ใช่งานในความรับผิดชอบ แม้ไม่ใช่งาน ในค…