Home แนวคิดชีวิต 12 แนวคิด ในการที่จะเป็นนายของตัวเอง

12 แนวคิด ในการที่จะเป็นนายของตัวเอง

8 second read
0
373
12 แนวคิด ในการที่จะเป็นนายของตัวเอง

12 แนวคิด ในการที่จะเป็นนายของตัวเอง

1 มองโอกาสของธุรกิจ

ถือว่าสำคัญมาก แม้ว่าเราชอบ หรืออย ากจะทำอะไร แต่ถ้าทำไปแล้ว

ไม่มีลูกค้าไม่มีคนซื้อก็ไม่คุ้มค่า กับการลงทุน ดังนั้นการที่คิดจะ ทำธุรกิจอะไร

ต้องวิเคราะห์ตลาด และพฤติ ก ร ร ม ผู้บริโภคด้วยว่า ลงทุนวันนี้แล้วพรุ่งนี้ลูกค้า

ยังจะซื้อเราอีกไหม. หรือธุรกิจที่เราชอบในวันนี้ อีก1-2ปีข้างหน้า

ยังจะได้รับความนิยมอยู่ หรือไม่เราต้องมอง โอกาสของธุรกิจด้วย

2 กำหนดสิ่งที่อย ากทำ

เมื่อเราอย ากเป็น เจ้าของธุรกิจ เราต้องค้นหา หรือถามตัวเองว่า อย ากทำอะไร

หรือชอบอะไรเป็นพิเศษ ยิ่งถ้าเรารักในสิ่งที่ อย ากทำด้วยแล้ว ก็จะทำให้ธุรกิจ

ที่จะทำประสบ ความสำเร็จได้ง่ายขึ้น เพราะเราจะตั้งใจทำ อ ย่ า ง เต็มความสามารถ

3 เริ่มต้นจากธุรกิจขนาดเล็กๆ

เป็นการทดลอง การทำธุรกิจ ว่าจะไปได้หรือไม่ได้ เหมือนเป็นการลองผิดลองถูก

ถ้าเจ๊งก็ไม่ต้องเสีย เ งินงบประมาณจำนวนมาก แต่ถ้าไปรอด หรือได้รับการตอบรับที่ดี

จากตลาดและลูกค้า ก็ค่อยๆขยับขย ายธุรกิจ ให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ที่สำคัญเหมาะ

สำหรับช่วง ที่เรายังทำงานประจำอยู่ ยังปลีกตัวไปทำเต็มตัว ไม่ได้ต้องทำขนาดเล็กๆไปก่อน

4 สอบถามลูกค้าเพื่อหาไอเดีย

เชื่อมโยงกับข้อ 2 เพราะก่อนจะ ลงทุนทำธุรกิจอะไร ให้ประสบความสำเร็จ

อย ากแรกต้องดูเทรนด์ตลาด และความต้องการ ของผู้บริโภคด้วย

อาจทำแบบสอบถาม หรือพูคุยกับลูกค้า ในพื้นที่นั้นๆโดยตรง

หรือสอบถาม ทางช่องทาง ออนไลน์ก็ได้ ว่าลูกค้าชอบสินค้า

หรือบริการที่เราอย ากจะทำ หรือไม่เพื่อเป็น การแนวร่วมเดียวกัน

ถ้าสอบถามหลายๆคน บอกว่าไม่ชอ บเราก็ยังสามารถ

ปรับเปลี่ยนธุรกิจ ก่อนที่จะลงทุน จริงๆจังๆได้ทันเวลา

5 วางแผนการตลาดและแผนธุรกิจ

การตลาดที่ ได้รับความนิยม ในวันนี้คือการ ใช้ช่องทางสื่อ ส า ร ผ่ า น ทางออนไลน์

โดยเฉพาะ SocialMedia ต่างๆ เพราะสาสามารถ เจ้าถึงกลุ่มลูกค้า เป้าหมายได้ดีที่สุด

ขณะเดียวกัน เราต้องจัดทำแผนธุรกิจ ระบุรายละเอียดต่างๆ ว่าเป้าหมายของธุรกิจ

คืออะไร เราต้องทำงานอะไรบ้าง ให้ประสบความสำเร็จ แผนธุรกิจจะครอบคลุม

โครงสร้าง ส่วนต่างๆ ของธุรกิจ

6 วางโครงสร้างบริษัท

ในเวลาเดียวกัน ถ้าเราจะเดินหน้าธุรกิจจริงๆ ต้องมองด้วยว่า จะจัดตั้งบริษัท

ในรูปแบบไหนเช่น บริษัทคนเดียว หรือหุ้นส่วนห รือจัดตั้งเป็นห้างหุ้น

ส่วนนิติบุคคลเป็นต้น เพื่อที่จะได้รับการดูแล ตามกฎหมาย อ ย่ า ง ถูกต้อง

7 ประเมินธุรกิจและปรับเปลี่ยน

หลังจากที่เราได้ทดลอง เริ่มต้นธุรกิจไปแล้ว พอ ผ่ า น ไปได้ประมาณ เดือนกว่าๆ

ก็ลองมาวิเคราะห์ ธุรกิจดูว่าผลกาตอบรั บ จากตลาด และลูกค้าเป็น อ ย่ า ง ไร

ยอดขา ยเพิ่มขึ้นทุกวัน หรือไม่ หรือคงที่หรือยอด ขา ยตก เมื่อเราเห็นภาพ

ก็จะสามารถนำไป ปรับปรุงแก้ไขได้ทันท่วงที โดยนำเอาข้อเสนอ แนะจาก

ลูกค้ามาปรับปรุง ให้ตอบโจทย์ลูกค้า จะดีที่สุดครับ

8 ลาออกจากงานประจำ

เมื่อธุรกิจพร้อมแล้ว ให้ลาออกจากงานประจำวัน เพื่อทำงานของตัวเอง

อ ย่ า ง เต็มที่แต่ อ ย่ า ลืมว่า ในการออกมาทำธุรกิจ ของตัวเองนั้น ในวันข้างหน้า

เราอาจจะต้องได้พบเจอ กับหัวหน้าเก่าเจ้านายเก่า หรือเพื่อนร่วมงานเก่าๆ

ดังนั้นก่อนการลาออก ต้องบอกเจ้านาย และเพื่อนร่วมงานให้ดี ไม่บ าดหมาง

ใจกันเพราะอนาคต ธุรกิจอาจต้องพึ่งพา ช่วยเหลือกัน

9 ตั้งงบประมาณในการทำงาน

ช่วงเวลาที่เราทำงาน ประจำอาจจะไม่สามารถ จัดสรรเรื่องงบประมาณ

ในการทำธุรกิจได้ อ ย่ า ง เต็มที่ แต่เมื่อเราออกจากงานประจำ

มาบริหาร กิจการของเรา อ ย่ า ง เต็มที่แล้วอย ากแรก เราต้องบริหาร

งบประมาณ ในการทำธุรกิจ แยกออกเป็นแต่ละส่วน ไม่ว่าจะเป็นการผลิต

การตลาดการจำหน่าย การขนส่งรวมเงิ นทุนหมุนเวียน ในบริษัทเป็นต้น

10 รวบรวมทีมงาน

มาถึงตรงนี้ ถ้าความคิดในการ ทำธุรกิจของเรา จะเป็นไปได้มากที่สุด

ผลการตอบรับ จากช่วงทดลองทำการตลาด ได้รับผลการตอบรับดี

ต่อไปเราต้องคิดว่า .ถ้าเราออกจากงาน เพื่อมาทำธุรกิจ ของเราเต็มเวลา

เราจำเป็นต้องทีมงาน เพื่อการขย ายธุรกิจให้มี ขนาดใหญ่ขึ้นกว่าเดิม

ไม่ว่าจะเป็นทีมงาน การตาดการเงิ นการผลิต การบริการลูกค้าเป็นต้น

11 การหาแหล่งเงิ นทุน

ถ้าเราคิดจะทำธุรกิจขาดเล็ก เราอาจใช้เ งินเก็บ จากการทำงานประจำ

มาใช้จ่ายช่วง 1-2 เดือนแรก ก่อนก็ได้ ถ้าหากมีเ งินเก็บ จำนวนมาก

แต่ถ้าอย ากทำธุรกิจ ที่มันใหญ่ขึ้น เพราะมีตลาดและลูกค้า รองรับอยู่แล้ว

ก็อาจจำเป็นต้องหาแหล่งเงิ นทุน ที่ปลอด ภั ย ไม่ว่า จะเป็นการขอสินเชื่อ

จากสถาบันการเ งิน ต่างๆรวมถึงแหล่งเ งิน ทุนจากญาติพี่น้อง

12 ปรับขนาดธุรกิจตามแผนการตลาด

สุดท้ายคือการทำธุรกิจ ให้เป็นไปตามแผนงาน หรือแผนธุรกิจ

ที่เราได้เขียนเอาไว้ ตั้งแต่เริ่มต้น ถ้าออกจากงานแล้ว ธุรกิจไปได้สวย

แต่ตอนแรก แผนธุรกิจเขียนเล็กๆเรา ก็ต้องมาปรับขนาดธุรกิจ

ให้เท่ากับแผน การตลาดในปัจจุบัน เช่น ถ้าสินค้าเป็นที่ต้อง การของตลาด

ต่างประเทศ เราก็ต้องปรับขนาด ธุรกิจให้ใหญ่ขึ้น เพื่อรองรับตลาด

ต่างประเทศเช่น อาจต้องเพิ่มทีมงาน ด้านต่างประเทศโดย เฉพาะรวมถึงเพิ่ม

กำลังการผลิต ที่มากขึ้นด้วยทั้งหมด เป็นขั้นตอนในการก้าวไปสู่ ในการเป็น

เจ้าของกิจการ หรือการเป็นนายตัวเอง ในขณะที่เรายัง เป็นลูกจ้างอยู่

ซึ่งถือเป็นแนวทาง ที่คนส่วนใหญ่นิยมใช้กันมาก เพราะการวางแผน

เป็นเจ้าของธุรกิจตั้ง แต่เรายังทำงานประจำ จะมีความเสี่ยงน้อยกว่า

การลาออกจากงาน มาเริ่มต้นธุรกิจ เลยอย่ างน้อยเรา ก็มีเ งินทุน

หมุนเวียน ในขณะที่เราเริ่มต้น ธุรกิจเล็กๆอยู่

ขอขอบคุณที่มา thaismescenter, stand-smiling

Check Also

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า 1 งานนี้ไม่ใช่งานในความรับผิดชอบ แม้ไม่ใช่งาน ในค…