Home แนวคิดชีวิต เทคนิคการแบ่งเงินออม แบบ 50/30/20 ช่วยให้การเงินดีขึ้น

เทคนิคการแบ่งเงินออม แบบ 50/30/20 ช่วยให้การเงินดีขึ้น

6 second read
0
906
เทคนิคการแบ่งเงินออม แบบ 50/30/20 ช่วยให้การเงินดีขึ้น

เทคนิคการแบ่งเงินออม แบบ 50/30/20 ช่วยให้การเงินดีขึ้น

วันนี้เราจะพา ทุกคน ไปเรียนรู้วิธีการออมเงินกับบทความวิธีออมเงินแบบ 50/30/20 ให้ชีวิตไม่ลำบาก ไปดูกันว่าจะต้องทำ อ ย่ า ง ไรบ้างสำหรับใคร ที่ไม่อย ากจะมานั่งเครียด ทุกครั้งที่ใช้เงินบาทสุดท้าย ในกระเป๋าสตางค์

ก ฎ การออมเงิน 50/30/20 ช่วยให้คุณ สามารถบริหารจัดการรายได้ เพื่อครอบคลุมค่าใช้จ่ายทั้งในส่วนของสิ่งที่จำเป็นในชีวิต และเป้าหมายในอนาคตในขณะเดียวกันก็มีเงินเหลือ พอสำหรับใช้จ่ายให้กับความสุขของ

ชีวิตการทำแผนออมเงินควรคำนวณจากรายรับที่แท้จริงของคุณซึ่งเป็นรายได้หลังหั กค่าใช้จ่าย เช่น การเสียภ าษี และแบ่งเงินของคุณออกเป็นสัดส่วนดังนี้ 50% = ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น 20% = เงินออมและชำระหนี้ 30% = ใช้กับสิ่งที่ต้องการ

แล้วก ฎการออมเงิน 50/30/20 มีวิธีการแบ่งเงิน อ ย่ า ง ไรมาดูวิธีแบ่งเงินในแต่ละสัดส่วน อ ย่ า ง ละเอียดกันเถอะ 50% = ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น อ้างอิงจากก ฎการออมเงิน 50/30/20 คุณควรแบ่งเงิน ครึ่งหนึ่งของรายรับ

ไว้สำหรับใช้จ่าย กับส่วนที่จำเป็นในชีวิตอะไรคือ ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น คือ สิ่งที่คุณขาดไม่ได้ และจำเป็นต้องจ่ายเช่น ค่าบ้าน ค่าอาหารค่าเดินทาง และค่าสาธารณูปโภค อ ย่ า ง ค่าน้ำและค่าไฟหากคุณยังสับสน

และไม่แน่ใจในการ แบ่งเงินในส่วนดังกล่าวลองดูตัว อ ย่ า ง ดังต่อไปนี้ตัวอย่ างค่าใช้ จ่ายที่อาจจะทำให้ คุณสับสนการชำระหนี้เจ้าหนี้มักจะกำหนดให้เราต้องชำระเงิน จำนวนหนึ่งในแต่ละเดือน ดังนั้นค่าใช้จ่ายขั้นต่ำ

ในการชำระหนี้จึงนับเป็นหนึ่งในค่าใช้จ่าย ที่จำเป็นแล้วเราจะจัดการ  ย่ า ง ไรหากเราอย ากจ่ายมากกว่ายอดขั้นต่ำ เพื่อไม่ให้สับสน และลำบากในการคำนวณเราจะนับค่าใช้จ่าย นอกเหนือจากการชำระหนี้ ขั้นต่ำเป็นหนึ่งในสัดส่วนของ 20%

ค่าสาธารณูปโภคอื่นๆโดยปกติแล้ว เราจะนับว่าค่าสาธารณูปโภคคือ ค่าใช้จ่ายที่จำเป็นแต่เมื่อคิดดู แล้วการคำนวณเช่นนี้ อาจจะไม่ถูกต้องสำหรับทุกคนตัว อ ย่ า ง เช่น หากคุณทำงานที่บ้านค่าอินเทอร์เน็ต จะจัดว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่จำเป็น

แต่ถ้าคุณใช้งานอินเทอร์เน็ต เพื่อความบันเทิงค่าใช้จ่ายส่วนนี้จะถูกจัดว่า เป็นค่าใช้จ่ายกับสิ่งที่ต้องการ ดังนั้นควรตรวจสอบให้แน่ใจว่า วิธีการแบ่งสัดส่วนเงินเหมาะสม กับการใช้งานของคุณ หรือไม่ใช้เงินเกินงบที่ตั้งไว้หรือไม่

หากคุณตรวจสอบแล้วว่า ค่าใช้จ่ายที่จำเป็น ของคุณบางส่วนจัดอยู่ในอีกสองหมวด ห มู่ เช่นกัน นี่อาจจะ ถึงเวลาที่คุณต้องลดค่าใช้จ่าย เพื่อให้อยู่ในงบประมาณที่กำหนด เช่น ย้ายไปอยู่บ้านที่เล็กลง ใช้บริการอินเทอร์เน็ต ที่มีความเร็วช้าลง

แต่ประหยัดมากขึ้น ลดค่าใช้จ่ายโดยการซื้อรถที่ราคาถูก ลงหากทำเช่นนั้นมีความเป็นไปได้สูง ที่คุณจะสามารถลดค่าใช้จ่ายได้มากกว่า ที่คิดใช้เงินน้อยกว่างบที่ตั้งไว้ หรือไม่ คุณช่างโชคดีเหลือเกิน ก่อนจะนำเงินที่เหลือในแต่ละเดือน

ไปจั บจ่ายใช้สอย เพื่อความบันเทิงคุณควรพิจารณา และนำเงินที่เหลือไปเก็บ ในส่วนของเงินออม หรือนำไปชำระหนี้เพื่อเพิ่มสภาพคล่อง ทางการเงินของคุณ 20%=เงินออมและชำระหนี้

เงินในส่วนนี้นับเป็นส่วนสุดท้าย ในกฎการออมเงิน 50/30/20 แต่ถือว่าเงินส่วนนี้เป็นสิ่งที่สำคัญ เป็นอันดับสองของแผน การเงินนี้สิ่งที่ควรทำเพื่อ ประกันอนาคตของคุณก็คือ ชำระหนี้เพิ่มเติมออมเงินไว้ใช้ใ นย า ม ฉุ ก เ ฉิ น

เป้าหมายที่ดีคือควรมีเงินย ามฉุ ก เ ฉินอย่ างน้อยสามเท่าของรายรับ พย าย ามบรรลุเป้าหมายการออมเงิน และลงทุนเพื่อใช้ในย ามเกษียณ หากคุณมีหนี้จำนวนมากหรือรู้สึกว่า เป้าหมายในการออมเงิน หลังเกษียณช่างห่างไกลเหลือเกิน

อย่ าลังเลที่จะลดค่าใช้จ่ายที่จำเป็นห รือลดค่าใช้จ่ายที่จะใช้ กับสิ่งที่ต้องการ จนกว่าคุณจะมีสถานะ ทางการเงินที่ดีขึ้นหลีกเลี่ ยง การตั้งเป้าหมาย การออมเงินที่สูงเกินไป แต่เริ่มจากเป้าหมาย การออมเงินที่เราสามารถทำได้จริงในระยะ ย า ว

ควรจัดลำดับความสำคัญ อ ย่  า ง ไร หากคุณมีหนี้ค้างชำระ และไม่มีเงินไว้ใช้ ในย ามฉุ ก เ ฉิ น เรา ขอแนะนำให้คุณจัดลำดับความสำคัญ ของสิ่งเหล่านี้ไว้ต้นๆ มันไม่ใช่ความคิดที่ดีเลย ที่จะละทิ้งการออมเงินระยะย าว และออมเงิน

สำหรับ การเกษียณ ยิ่งคุณแก้ปัญหาได้เร็วมากเท่าไหร่ คุณก็จะเริ่มสะสมเงินได้เร็วมากขึ้นเท่านั้น แม้มันอาจจะเป็นเงินจำนวนไม่มากก็ตาม ข้อควรรู้ เกี่ยวกับสิ่งที่จำเป็น การอดออมอื่นๆ มีเพียงเงินสำหรับใช้ใน ย ามฉุ ก เฉิน

การลงทุนสำหรับแผนการเกษียณ และ การเก็บเงินสำหรับเหตุการณ์สำคัญในชีวิต อ ย่ า ง เช่น งานแต่งงานบ้านหลัง ที่ใหญ่ขึ้น สำหรับครอบครัวที่กำลังเติบโต เท่านั้นที่จัดอยู่ในหมวด ห มู่ นี้ หากคุณต้องการเก็บเงิน

สำหรับทริปวันหยุด พักผ่อนหรือซื้อรถในฝัน คุณสามารถเก็บเงินส่วนนี้ ได้แต่ต้องให้แน่ใจว่า เงินส่วนนี้จะถูกจัดอยู่ในสัดส่วนของค่าใช้จ่ายกับสิ่งที่ต้องการ 30% = ใช้กับสิ่งที่ต้องการ ไม่ว่าคุณจะเลือก ใช้จ่ายเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ความฟุ่มเฟือย เล็กๆน้อยๆ หรือ เพื่อความสนุกสนานค่าใช้จ่ายเหล่านี้ จัดว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นในการดำรงชีวิต แต่ทำให้ชีวิตของคุณมีสีสันขึ้นหากคุณใช้เงินมากกว่า 30% ไปกับสิ่งที่ต้องการนั่น หมายความว่า ได้เวลาที่คุณ

จะตัดหรือลดค่าใช้จ่ายในส่วนนี้แล้ว ในช่วงแรกคุณอาจจะลองเริ่ม จากสิ่งที่คุณสามารถตัดหรือลดได้ทันทีนี่เป็น สิ่งสำคัญมากกว่าที่คิดแน่นอนว่า คุณสามารถ เว้นการแบ่งเงินเข้าสัดส่วนนี้ แล้วนำไป รวมกับอีกสองสัดส่วนข้างบน

ได้ถือว่า เป็นความคิดที่ดีมากโดยเฉพาะ ถ้าคุณกำลังประสบปัญหา ทางด้านการเงินแต่ อ ย่ า ง ไรก็ตามการปล่อยให้ตัวเอง ไร้ซึ่งความสุขนั้นไม่ใช่ผลดีในระยะ ย า ว อ ย่ า ง แน่นอน ดังนั้นเมื่อใดที่สามารถจัดสรรเงิน

สัดส่วนข้างบนได้แล้ว อ ย่ า ลืมใช้เงิน 30% ของรายได้ไปกับสิ่งที่คุณรัก โดยไม่ต้องรู้สึกผิด จะเริ่มออมเงินโดยใช้ก ฎ 50/30/20 อ ย่ า ง ไร เริ่มจากการคำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมด และจัดเข้าหมวด ห มู่ จะดียิ่งขึ้นไปอีก

หากคุณสามารถอ้างอิง จากรายการเงินฝากถอนของธนาคาร เพราะหากคุณ คำนวณโดยการคาดเดา การคำนวณอาจคลาดเคลื่อน ได้คุณอาจจะพบว่า ค่าใช้จ่ายบางส่วน ของคุณไม่สามารถ นำมาจัดอยู่ในหมวด ห มู่ 50/30/20ได้

นอกจากนั้นค่าใช้จ่ายของคุณ อาจมากกว่าหรือน้อยกว่ารายได้ อ ย่ า กังวลไป นั่นอาจเป็นเพราะว่า คุณใช้ก ฎ 50/30/20โดยไม่รู้ตัว ดังนั้น คุณอาจจะใช้เวลานี้

ปรับแผนการเงินจนกว่า คุณจะพอใจหรือ หากคุณไม่สามารถปรับ แผนการเงินได้ลงตัว คุณอาจจะต้องวางแผน ลดค่าใช้จ่ายบาง อ ย่ า ง ออกไป

ขอขอบคุณที่มา 108resources

Check Also

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า 1 งานนี้ไม่ใช่งานในความรับผิดชอบ แม้ไม่ใช่งาน ในค…